บทที 1 ธรรมชาติและพัฒนาการ ... · 2020. 5. 25. ·...

78
http://www.pec9.com ติวสบายฟิ สิกส์ บทที ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิ สิกส์ 1 วิชาวิทยาศาสตร ์ คือวิชาซึ งศึกษาเกี ยวกับสิ งต่างๆ ในธรรมชาต ด้วยกระบวนการค้นคว้าหาความรู ้ที มีขั นตอนมีระเบียบแบบแผน แบ่งได ้เป็ น 2 สาขาหลัก ได้แก่ 1. วิทยาศาสตร ์ชีวภาพ เน้นศึกษาเฉพาะส่วนที เกี ยวกับสิ งมีชีวิต 2. วิทยาศาสตร ์กายภาพ เน้นศึกษาเกี ยวกับสิ งไม่มีชีวิต แบ่ง ออกเป็นอีกหลายแขนงเช่นฟิสิกส์ เคมี ธรณีวิทยา ดาราศาสตร ์ เป็นต้น วิธีการค้นคว้าหาความรู้ทางฟิ สิกส ์โดยทั วไปจะมี 2 แนวทาง 1. สังเกตสิ งรอบตัว สงสัย ตั งคําถามว่าเกิดอะไรขึ นเกิดเพราะอะไร เดาคําตอบเบื องต้น (เรียกสมมติฐาน) ทําการทดลองเก็บข้อมูลเพื ตรวจสอบว่าคําตอบนั นถูกไหม แล้วสรุปเป็นแนวคิด หลักการหรือกฎ 2. สร้างแบบจําลองทางความคิดเพื อสรุปเป็ นทฤษฏีที ใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ธรรมชาติ รวมถึงทํานายสิ งที อาจจะเกิดขึ เช่นการสร ้าง แบบจําลองอะตอมเพื อนํามาใช้อธิบายพฤติกรรมต่างๆ ของอะตอม เป็นต้น บทที 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ 1.1 ธรรมชาติของฟิ สิกส ์ วิชาฟิ สิกส ์ คือวิชาวิทยาศาสตร ์พื นฐานสาขาหนึ ง นอกเหนือจากวิชาเคมีและ ชีววิทยา วิชาฟิสิกส์จะศึกษากฎเกณฑ์ของธรรมชาติเฉพาะทาง กายภาพเช่นศึกษาเรื องของคลื น แสง เสียง ไฟฟ้า แม่เหล็ก การเคลื อนที มวล แรง โมเมนตัม พลังงาน ของไหล เป็ นต ้น 1. ข้อใดต่อไปนี เป็ นเป็ นเร ื องที เกี ยวกับวิชาฟิสิกส์เป็ นส่วนใหญ่ 1. การศึกษาพันธุกรรมของหนู 2. การเกิดปฏิกิริยาของโลหะโซเดียม 3. สัญญาณโทรศัพท์มือถือ 4. ยากําจัดวัชพืช 5. การบ่มผลไม้ด้วยแก๊ส 1.2 การวัดและการบันทึกผลการวัดปริมาณทางฟิ สิกส ์ 1.2.1 ปริมาณทางฟิ สิกส์และระบบหน่วยระหว่างชาติ เราสามารถแบ่งปริมาณในวิชาฟิสิกส์ออกเป็ นกลุ่มย่อย โดยอาศัยหลักเกณฑ์ ในการแบ่งได้หลายวิธี ดังตัวอย่างต่อไปนี

Transcript of บทที 1 ธรรมชาติและพัฒนาการ ... · 2020. 5. 25. ·...

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    1

    วชิาวทิยาศาสตร ์ คอืวชิาซ ึ�งศกึษาเกี�ยวกบัสิ�งตา่งๆ ในธรรมชาต ิดว้ยกระบวนการคน้ควา้หาความรูท้ี�มขี ั�นตอนมรีะเบยีบแบบแผน

    แบ่งไดเ้ป็น 2 สาขาหลกั ไดแ้ก ่ 1. วทิยาศาสตรช์วีภาพ เนน้ศกึษาเฉพาะสว่นที�เกี�ยวกบัสิ�งมชีวีติ 2. วทิยาศาสตรก์ายภาพ เนน้ศกึษาเกี�ยวกบัสิ�งไม่มชีวีติ แบ่ง ออกเป็นอกีหลายแขนงเชน่ฟิสกิส ์เคม ีธรณีวทิยา ดาราศาสตร ์เป็นตน้

    วธิกีารคน้ควา้หาความรูท้างฟิสกิสโ์ดยทั�วไปจะม ี 2 แนวทาง 1. สงัเกตสิ�งรอบตวั สงสยั ต ั�งคาํถามวา่เกดิอะไรขึ �นเกดิเพราะอะไร เดาคาํตอบเบื �องตน้ (เรยีกสมมตฐิาน) ทําการทดลองเก็บขอ้มูลเพื�อ ตรวจสอบวา่คาํตอบนั�นถูกไหม แลว้สรปุเป็นแนวคดิ หลกัการหรอืกฎ 2. สรา้งแบบจําลองทางความคิดเพื�อสรุปเป็นทฤษฏีที�ใชอ้ธิบายปรากฏการณธ์รรมชาต ิ รวมถงึทํานายสิ�งที�อาจจะเกดิขึ �น เชน่การสรา้งแบบจาํลองอะตอมเพื�อนํามาใชอ้ธบิายพฤตกิรรมตา่งๆ ของอะตอม เป็นตน้

    บทที� 1 ธรรมชาตแิละพฒันาการทางฟิสกิส ์

    1.1 ธรรมชาตขิองฟิสกิส ์

    วชิาฟิสกิส ์คอืวชิาวทิยาศาสตรพ์ื �นฐานสาขาหนึ�ง นอกเหนือจากวชิาเคมแีละชวีวทิยา วชิาฟิสกิสจ์ะศกึษากฎเกณฑข์องธรรมชาตเิฉพาะทาง กายภาพเชน่ศกึษาเร ื�องของคลื�น แสง เสยีง ไฟฟ้า แม่เหล็ก การเคลื�อนที� มวล แรง โมเมนตมั พลงังาน ของไหล เป็นตน้ 1. ขอ้ใดตอ่ไปนี�เป็นเป็นเร ื�องที�เกี�ยวกบัวชิาฟิสกิสเ์ป็นสว่นใหญ่ 1. การศกึษาพนัธกุรรมของหนู 2. การเกดิปฏกิริยิาของโลหะโซเดยีม 3. สญัญาณโทรศพัทม์อืถอื 4. ยากาํจดัวชัพชื 5. การบ่มผลไมด้ว้ยแกส๊

    1.2 การวดัและการบนัทกึผลการวดัปรมิาณทางฟิสกิส ์

    1.2.1 ปรมิาณทางฟิสกิสแ์ละระบบหน่วยระหวา่งชาต ิ เราสามารถแบ่งปรมิาณในวชิาฟิสกิสอ์อกเป็นกลุ่มย่อย โดยอาศยัหลกัเกณฑ ์ในการแบ่งไดห้ลายวธิ ี ดงัตวัอย่างตอ่ไปนี�

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    2

    ถา้เราจะพูดถึงแรง เราตอ้งบอกทั�งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์ เช่นออกแรงผลัก 10 นิวตัน ผลกัไปทางทิศเหนือ บอกแต่ออกแรง 10 นิวตนั ไปทางไหนไม่รูก็้ถอืว่าไม่สมบูรณ ์ แรงตอ้งมีทศิทางดว้ยจงึเป็นปรมิาณเวกเตอร ์

    วธิทีี� 1. แบ่งโดยใชล้กัษณะของปรมิาณเป็นเกณฑ ์ จะแบ่งไดเ้ป็น 1. ปรมิาณเวกเตอร ์ คอืปรมิาณที�ตอ้งบอกทั�งขนาดและทศิทางจงึจะสมบูรณ ์

    เชน่แรง โมเมนตมั สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก เป็นตน้

    2. ปรมิาณสเกลาร ์ คือปรมิาณที�บอกแต่ขนาดอย่างเดียว ไม่ตอ้งบอกทศิทางก็สมบูรณไ์ด ้ เชน่มวล พลงังาน เป็นตน้

    วธิทีี� 2. แบ่งโดยใชท้ี�มาของปรมิาณเป็นเกณฑ ์ จะแบ่งไดเ้ป็น 1. ปรมิาณมูลฐาน คอืปรมิาณขั�นตน้ที�จําเป็นต่อการอธบิายปรากฏการณ์ทางฟิสกิสม์ ี 7 ปรมิาณ

    ปรมิาณ หน่วย สญัลกัษณข์องหน่วย

    ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อณุหภูมทิางเทอรโ์มไดนามกิ ความเขม้ของการสอ่งสวา่ง ปรมิาณของสาร

    เมตร กโิลกรมั วนิาท ี

    แอมแปร ์เคลวนิ

    แคนเดลา โมล

    m kg s A K cd

    mol

    หน่วยที�แสดงเป็นหน่วยมาตรฐานซึ�งกําหนดโดยองคก์รณ์ระหว่างชาติเพื�อการมาตรฐาน (International organization for Standardization , ISO) ระบบหน่วยที�ได ้เรยีกวา่ระบบหน่วยระหว่างชาต ิ( The International System of Unit , SI )

    2. ปรมิาณอนุพทัธ ์ คอืปรมิาณที�เกดิจากการนําปรมิาณมูลฐานมาประกอบเขา้ดว้ยกนั เชน่ อตัราเรว็ ( เกดิจากระยะทางหรอืความยาวหารดว้ยเวลา ) เป็นตน้

    3. ปรมิาณเสรมิ คอืปรมิาณที�นอกเหนือจากปรมิาณทั�งสองที�ผ่านมา เชน่ มุมของรปูเรขาคณิต เป็นตน้

    2. ปรมิาณที�แสดงแต่ขนาดเพยีงอย่างเดยีวก็สมบูรณ ์ เรยีกเป็นปรมิาณใด 1. เวกเตอร ์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร ์ 4. สมับูรณ ์ 5. อนุพทัธ ์

    3. ปรมิาณที�ตอ้งแสดงทั�งขนาดและทศิทาง จงึจะสมบูรณเ์รยีกเป็นปรมิาณใด 1. เวกเตอร ์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร ์ 4. สมับูรณ ์ 5. อนุพทัธ ์

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    3

    นอกจากความยาวแลว้ ปรมิาณอื�นๆ ก็สามารถแบ่งเป็นหน่วยยอ่ยๆ ไดเ้ชน่กนั

    4. หน่วยที�เป็นมาตรฐานสากลของความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า คอืขอ้ใด 1. เซนตเิมตร , กโิลกรมั , ช ั�วโมง , แอมแปร ์ 2. เมตร , กโิลกรมั , วนิาท ี , แอมแปร ์

    3. กโิลเมตร , กโิลกรมั , วนิาท ี, แอมแปร ์ 4. มลิลเิมตร , กโิลกรมั , วนิาท ี, แอมแปร ์ 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    5. ปรมิาณในขอ้ใดตอ่ไปนี� เป็นปรมิาณอนุพทัธ ์ 1. มวล 2. เวลา 3. กระแสไฟฟ้า 4. ความเรว็ 5. ความเขม้แห่งการสองสวา่งแสง

    1.2.2 การเปลี�ยนหน่วยและสญักรณว์ทิยาศาสตร ์

    สมมุตไิมบ้รรทดัมสีเกลยาว 1 เมตร หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็น 100 ชอ่งๆ เทา่กนั แตล่ะชอ่ง ยอ่ยจะเรยีก 1 เซนตเิมตร (cm)

    ดงันั�น 1 เซนตเิมตร = 100

    1 เมตร

    หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็น 1,000 ชอ่งๆ เทา่กนั แตล่ะชอ่ง ยอ่ยจะเรยีก 1 มลิลเิมตร (mm)

    ดงันั�น 1 มลิลเิมตร = 1000

    1 เมตร

    หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็น 1,000,000 ชอ่งๆ เทา่กนั แต ่ละชอ่งยอ่ยเรยีก 1 ไมโครเมตร ( m )

    ดงันั�น 1 ไมโครเมตร = 1,000,000

    1 เมตร

    หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็น 1,000,000,000 ชอ่งๆ เทา่กนั แตล่ะชอ่งยอ่ยจะเรยีก 1 นาโนเมตร ( nm )

    ดงันั�น 1 นาโนเมตร จะเทา่กบั 0001,000,000,

    1 เมตร

    6. ปรมิาณในขอ้ใดตอ่ไปนี�มขีนาดเล็กที�สดุ 1. 1 cm 2. 1 mm 3. 1 nm

    4. 1 m 5. ไม่สามารถเปรยีบเทยีบกนัได ้

    1 เมตร

    1 เมตร

    1 เมตร

    1 เมตร 0

    0

    0

    0

    0 1 cm

    1 mm 0

    1 m 0

    0 1 nm

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    4

    กอ่นเปลี�ยนหน่วย ใหน้อ้งๆ ท่องคาํอปุสรรคขา้งลา่งนี� ใหไ้ดก้อ่นนะครา้บๆๆๆๆ

    การเปลี�ยนหน่วยสามารถทําไดด้งัตวัอย่างตอ่ไปนี�

    7. ปรมิาณในขอ้ใดตอ่ไปนี�มขีนาดใหญ่ที�สดุ 1. 8 cg 2. 8 mg 3. 8 ng 4. 8 g 5. ไม่สามารถเปรยีบเทยีบกนัได ้

    ตวัอย่าง จงเปลี�ยน 834 เซนตเิมตร ใหม้หีน่วยเป็นเมตร แนวคดิ วธิทีี� 1 เทยีบบญัญตัไิตรยางศ ์ เนื�องจาก 100 เซนตเิมตร เท่ากบั 1 เมตร

    ดงันั�น 834 เซนตเิมตร เท่ากบั 100

    834 1 x เมตร

    = 8.34 เมตร

    วธิทีี� 2 ใชต้วัพหุคูณ

    คา่อปุสรรคใชแ้ทนตวัพหุคูณ คา่พหุคณู ชื�อ สญัลกัษณ ์

    เอกซะ (exa) เพตะ (peta ) เทอรา (tera) จกิะ (giga) * เมกกะ (mega) * กโิล (killo) เฮกโต (hecto) เดซ ิ (daci) * เซนต ิ(centi) * มลิล ิ (milli) * ไมโคร (micro) * นาโน (nano) * พโิค (pico) อตัโต (atto)

    E P T G M k h d c m n p a

    1018 1015 1012

    109

    106

    103

    102

    10–1

    10–2

    10–3

    10–6

    10–9

    10–12

    10–18

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    5

    เมื�อจาํไดแ้ลว้ ก็นํามาใช ้เปลี�ยนหน่วยงา่ยๆ ดงัใน ตวัอยา่งตอ่ไปนี�นะจะ๊

    ลบ n ออกไป ใส ่10–9 แทนเลย เพราะ n = 10–9

    ลบ c ออกไป ใส ่10–2 แทนเลย เพราะ c = 10–2

    834 c m = 834 x 10–2 m = 8.34 m

    ดงันั�น 834 เซนตเิมตร มคีา่เท่ากบั 8.34 เมตร

    ตวัอยา่ง จงเปลี�ยน 93 นาโนเมตร ใหม้หีน่วยเป็นเมตร แนวคดิ 93 n m = 93 x 10–9 m = 9.3 x 10–8 m

    ดงันั�น 93 นาโนเมตร มคีา่เทา่กบั 9.3 x 10–8 เมตร

    ตวัอย่าง จงเปลี�ยน 7.20 x 102 ไมโครกรมั ใหม้หีน่วยเป็นกรมั โดยใชต้วัพหุคณู แนวคดิ 7.20 x 102 g ( เปลี�ยน เป็น 10–6 ได ้เพราะมคีา่เทา่กนั ) = 7.20 x 102 x 10–6 g = 7.20 x 10–4 g

    ดงันั�น 7.20 x 102 ไมโครกรมั มคีา่เท่ากบั 7.20 x 10–4 กรมั

    ( การเขยีนใหอ้ยู่ในรูป a x 10n เมื�อ 1 ≤ a < 10 เรยีกสญักรณว์ทิยาศาสตร ์) 8. 65.24 nm มคีา่เท่ากบักี� m 1. 6.524 x 10–4 2. 6.524 x 10–5 3. 6.524 x 10–6 4. 6.524 x 10–7 5. 6.524 x 10–8

    9. 425 kW มคีา่เท่ากบักี� W 1. 4.25 x 103 2. 4.25 x 104 3. 4.25 x 105 4. 4.25 x 106 5. 4.25 x 107

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    6

    ลองดตูวัอย่างตอ่ไปนี�กอ่นทําขอ้ถดัไปนา้

    ลบ 10–6 ออกไป ใส ่ แทนเลย เพราะ = 10–6

    10. 0.05526 m มคีา่เท่ากบักี� m 1. 5.526 x 10–4 2. 5.526 x 10–5 3. 5.526 x 10–6 4. 5.526 x 10–7 5. 5.526 x 10–8

    11. 2.55 x10–3 g มคีา่เท่ากบักี� g 1. 2.55 x 10–6 2. 2.55 x 10–7 3. 2.55 x 10–8

    4. 2.55 x 10–9 5. 2.55 x 10–10

    12. 4.625 x 105 nA มคีา่เท่ากบักี� A 1. 4.625 x 10–3 2. 4.625 x 10–4 3. 4.625 x 10–5

    4. 4.625 x 10–6 5. 4.625 x 10–7

    ตวัอย่าง จงเปลี�ยน 4.2 x 10–7 เมตร ใหม้หีน่วยเป็นไมโครเมตร แนวคดิ 4.2 x 10–7 m = 4.2 x 10–1 x 10–6 m

    = 4.2 x 10–1 m = 0.42 m

    หรอืทําอกีวธิหีนึ�งดงันี� 4.2 x 10–7 m ( เลื�อนจดุทศนิยมไปขา้งหนา้ 1 จดุ )

    = 0.42 x 10–6 m ( เปลี�ยน 10–6 เป็น แลว้จบเลย ) = 0.42 m

    13. 7.23 x 10–7 m มคีา่เท่ากบักี� m 1. 72.3 2. 7.23 3. 0.723 4. 0.0723 5. 0.00723

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    7

    14. 53.9 x 10–11 g มคีา่เท่ากบักี� ng 1. 539 2. 53.9 3. 5.39 4. 0.539 5. 0.0539 15. 18.30 x 10–5 Ω มคีา่เท่ากบักี� cΩ 1. 183.0 2. 18.30 3. 1.830 4. 0.1830 5. 0.0183

    16. 9.230 x 10–4 A มคีา่เท่ากบักี� A 1. 9230 2. 923.0 3. 92.30 4. 9.230 5. 0.9230

    17. 2.403 x 10–7 m มคีา่เท่ากบักี� nm 1. 2403 2. 240.3 3. 24.03 4. 2.403 5. 0.2403

    18. 0.09450 g มคีา่เท่ากบักี� mg 1. 945.0 2. 94.50 3. 9.450 4. 0.945 5. 0.00945 19. 7.31 m มคีา่เท่ากบักี� cm 1. 7.31 x 10–2 2. 7.31 x 10–1 3. 73.1 4. 731 5. 7.31 x 103 20. 650 g มคีา่เท่ากบักี� kg 1. 0.650 2. 6.50 3. 65.0 4. 650 5. 6500

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    8

    21. ความยาว 4.9 นาโนเมตร มคีา่เท่าไรในหน่วยกโิลเมตร 1. 4.9 x 10–9 2. 4.9 x 10–11 3. 4.9 x 10–12

    4. 4.9 x 10–13 5. 4.9 x 10–15 22. จงเปลี�ยนหน่วยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กโิลกรมั เป็นพโิคกรมั 1. 1.6 x 10–39 2. 1.6 x 10–36 3. 1.6 x 10–15

    4. 1.6 x 10–12 5. 1.6 x 10–9

    23. พื �นที� 300 ตารางมลิลเิมตร (mm2) คดิเป็นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร (m2) 1. 3.00 x 104 2. 3.00 x 103 3. 3.00 x 10–3 4. 3.00 x 10–4 5. 3.00 x 10–5

    24. 1.5 ตารางเซนตเิมตร (cm2) มคีา่เท่ากบักี�ตารางเมตร (m2) 1. 1.5 x 10–4 2. 1.5 x 10–2 3. 1.5 x 102

    4. 1.5 x 104 5. 1.5 x 106

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    9

    25. จงเปลี�ยน 4 x 10–8 ลกูบาศกเ์ซนตเิมตร (cm3) ใหเ้ป็นลกูบาศกเ์มตร (m3) 1. 4 x 10–10 2. 4 x 10–12 3. 4 x 10–14 4. 4 x 10–16 5. 4 x 10–18

    26. จงเปลี�ยน 7 ไมโครนิวตนั/ตารางเซนตเิมตร ใหเ้ป็นนิวตนั/ตารางเมตร 1. 7 x 10–3 2. 7 x 10–2 3. 7 x 102

    4. 7 x 104 5. 7 x 105

    27. จงเปลี�ยน 3 x 1011 ไมโครเมตร/มลิลวินิาท ี ใหเ้ป็นเมตร/วนิาท ี 1. 3 x 106 2. 3 x 107 3. 3 x 108

    4. 3 x 109 5. 3 x 1012

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    10

    เลขที�ไดจ้ากการอ่านค่าในการวดั ทั�งเลขที�อยู่บนสเกลและเลขที�ไดจ้ากการคาดเดา 1 ตวั ทั�งหมดนี�

    เรยีกเป็นเลขนยัสําคญั ( Significant )

    28. รถประจําทางคนัหนึ�งวิ�งดว้ยความเร็ว 36 กิโลเมตรต่อช ั�วโมง รถคนันี�วิ�ง ดว้ยความเรว็เท่ากบักี�เมตรตอ่วนิาท ี

    1. 5 2. 10 3. 15 4. 20 5. 25 29. ความเรว็ขนาด 1 เมตรตอ่วนิาท ี มคีา่เท่าใดในหน่วยกโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง

    1. 3.61 2. 3.6 3. 3.6 x 103

    4. 3.6 x 10–2 5. 3.6 x 10–3

    1.2.3 ความไม่แน่นอนในการวดัและเลขนยัสาํคญั

    หลกัการอา่นคา่ที�ไดจ้ากวดัโดยทั�วไปนั�น ใหอ้า่นคา่ที�ปรากฏบนสเกล แลว้เดาคา่ทศนิยมตอ่ไดอ้กี 1 ตาํแหน่ง เชน่ ในรูปการอา่นขนาดความยาวของดนิสอ ในรูปนี�ตอ้งอา่นคา่ที�มอียู่แลว้บนสเกลคอื 1.8 cm ( สเกลมทีศนิยมอยู่แลว้ 1 ตาํเหน่ง จงึเรยีกความละเอยีดสเกลอยู่ ในระดบั 0.1 ) จากนั�นใหเ้ดาทศนิยม เพิ�มไดอ้กี 1 ตาํแหน่ง ในรูปนี�มคี่าประ มาณ 0.03 cm รวมแลว้ความยาวดนิสอแท่งนี �ควรอา่นคา่เป็น 1.83 cm

    30. จากรปู ความละเอยีดของสเกลมคีา่เท่ากบักี�เซนตเิมตร 1. 1 2. 0.1 3. 0.01 4. 0.001 5. 0.0001 31. จากรูปในขอ้ที�ผ่านมา ความยาวของแท่งดนิสอมคีา่เท่ากบักี�เซนตเิมตร 1. 9.4 2. 9.375 3. 9.36 4. 9.3 5. 9

    1.8

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    11

    32. จากรูปที�กาํหนดให ้ ความละเอยีดของสเกลมคีา่เท่ากบักี�เซนตเิมตร

    1. 1 2. 0.1 3. 0.01 4. 0.001 5. 0.0001

    33. จากรูปในขอ้ที�ผ่านมา ความยาวของแท่งดนิสอมคีา่เท่ากบักี�เซนตเิมตร

    1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 cm 4. 2.455 cm 5. 2.4555 cm

    หลกัในการนบัจาํนวนตวัเลขนยัสาํคญั มดีงันี�นะจะ๊ 1. เลข 1 – 9 นบั เป็นเลขนัยสาํคญัหมดเลย

    2. สาํหรบัเลข 0 ใหพ้จิารณาดงันี� 2.1 เลข 0 ที�อยูห่นา้จาํนวน ไมน่บั 2.2 เลข 0 ที�อยูก่ลางจาํนวน ตอ้งนบั

    เชน่ 0 0 0 7 2 9 0 0 5 3 6

    นับเพราะ 0 อยู ่

    ไม่นับเพราะ กลางตอ้งนับ 0 อยูห่นา้ไม่นับ 7 2 9 5 3 6 นับ เพราะ เลขที�ไม่ใช ่0 นับหมด

    รวมแลว้ 00072900536 มเีลขนัยสาํคญั 8 ตวัคอื 7 2 9 0 0 5 3 6

    2.3 ถา้จาํนวนในรปูทศนิยม 0 ขา้งหลงัจาํนวน ตอ้งนบั เชน่ 2.00 มเีลขนัยสาํคญั 3 ตวัคอื 2 0 0

    2.4 ถา้เขยีนเป็นจาํนวนเต็มไม่มทีศนิยม หากม ี0 อยูห่ลงัจาํนวน จะบอกจาํนวนตวัเลขนยัสาํคญัไม่ได ้ เชน่ 8000 จะบอกจาํนวนตวัเลขนัยสาํคญัไม่ได ้

    1 2 3 4 5 6 7 8 9 cm

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    12

    1. คณู หาร ธรรมดาใหเ้สรจ็กอ่น 2. ดโูจทยท์ี�มตีวัเลขนัยสาํคญันอ้ยสดุ ขอ้นี�คอื 3.0 มนัียสาํคญั 2 ตวั 3. ปรบัคาํตอบใหม้นัียสาํคญันอ้ยสดุ เทา่กบัโจทยค์อืม ี 2 ตวั จงึตอ้งตอบ 9.7 (ปัดทศนิยมดว้ย)

    หากมีการนําจํานวนมาบวก ลบ คูณ หาร กนั ตอ้งคํานึงถึงจํานวนตวัเลขนัยสําคญัดว้ยเสมอ โดยถือหลกัดงัตอ่ไปนี�

    3. ถา้เขยีนเป็น a x 10n คดิเฉพาะที� a เท่านั�น

    เชน่ 5.23 x 1089 ดแูคต่รงนี� มเีลขนัยสาํคญั 3 ตวัคอื 5 2 และ 3 เทา่นั�น

    4. คา่คงตวัทั�งหลาย(เชน่ ) และตวัเลขในสตูร เชน่ 2R = 2 (3.14) R ตวัเลข 2 3 1 4 ไมน่บัเป็นเลขนยัสาํคญั

    34. ชายคนหนึ�งบนัทกึตวัเลขจากการวดัเป็น 0.0413 กโิลกรมั , 5.33 x 10–42 เมตร , 36.4 เซนตเิมตร และ 2.00 วนิาท ี จาํนวนเหล่านี�มเีลขนัยสาํคญักี�ตวั 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

    35. 1150 มเีลขนัยสาํคญักี�ตวั 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. บอกไม่ได ้

    การคูณและหารนยัสาํคญั

    ตวัอยา่ง 3.24 x 3.0 = ?

    แนวคดิ 3 . 2 3 x 3 . 0 9 . 6 9 0 ตอบ 9 . 7

    การหารเลขนยัสาํคญั กใ็ชห้ลกัการเดยีวกนันี�นะจะ๊

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    13

    36. หอ้งหอ้งหนึ�งกวา้ง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร หอ้งนี�จะมพีื �นที�เทา่ไร 1. 43.2 ตารางเมตร 2. 43.21 ตารางเมตร 3. 43.214 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร 5. 43.21400 ตารางเมตร

    37. เหล็กแท่งหนึ�งมวล 40.0 กรมั มปีรมิาตร 5.0 ลูกบาศกเ์ซนตเิมตร ตวัเลขที�

    เหมาะสมสาํหรบัคา่ความหนาแน่นของเหล็กแท่งนี�เป็นกี�กรมัตอ่ลกูบาศกเ์ซนตเิมตร 1. 8.0000 2. 8.000 3. 8.00 4. 8.0 5. 8

    38. นักเรยีนคนหนึ�งวดัเสน้ผ่านศนูยก์ลางของเหรยีญบาทได ้ 2.59 เซนตเิมตร เมื�อ พจิารณาเลขนัยสาํคญั เขาควรจะบนัทกึคา่พื �นที�หนา้ตดัดงันี� 1. 5.27065 ตารางเซนตเิมตร 2. 5.2707 ตารางเซนตเิมตร 3. 5.271 ตารางเซนตเิมตร 4. 5.27 ตารางเซนตเิมตร 5. 5.2 ตารางเซนตเิมตร

    39. มวล 2.00 กโิลกรมั ถูกแบ่งออกเป็นสี�สว่นเท่ากนัพอด ี แตล่ะสว่นจะมขีนาดกี� กโิลกรมั 1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500

    4. 0.5000 5. 0.50000

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    14

    1. บวก ลบ ธรรมดาใหเ้สรจ็กอ่น 2. ดโูจทยท์ี�มจีดุทศนิยมนอ้ยสดุ ขอ้นี�คอื 3.4 มทีศนิยม 1 จดุ 3. ปรบัคาํตอบใหม้จีดุทศนิยมนอ้ยสุด เทา่กบัโจทยค์อืม ี 1 จดุ จงึตอ้งตอบ 5.3 (ปัดทศนิยมดว้ย)

    ปกตแิลว้การศกึษาวชิาฟิสกิสจ์ะตอ้งมกีารทดลอง มกีารวดัปรมิาณตา่งๆ เพื�อนํามาวเิคราะหแ์ละสรุปผล การวดัปรมิาณหนึ�งๆ จะตอ้งวดัหลายๆ คร ั�งแลว้นํามาหาค่าเฉลี�ยและค่าความคลาดเคลื�อนของคา่เฉลี�ยนั�นดงัตวัอย่างตอ่ไปนี�

    การบวกและลบนยัสําคญั

    ตวัอยา่ง 4.187 + 3.4 – 2.32 = ?

    แนวคดิ 4 . 1 8 7 + 3 . 4 – 2 . 3 2 5 . 2 6 7 ตอบ 5 . 3

    40. จงหาผลลพัธข์องคาํถามตอ่ไปนี�ตามหลกัเลขนัยสาํคญั 4.37 + 2.1 – 0.002 1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458 5. 6.4580

    1.3 การทดลองทางฟิสกิส ์

    1.3.1 การรายงานความคลาดเคลื�อน

    ตวัอย่าง ในการวดัความยาวของวตัถุช ิ �นหนึ�ง (หน่วย cm) 5 คร ั�ง ไดข้อ้มูลดงันี� 23.0 , 22.8 , 22.6 , 23.0 , 22.6 ก. คา่ความยาวเฉลี�ยมคีา่กี� cm ข. คา่ความคลาดเคลื�อนของคา่เฉลี�ยมคี่ากี� cm

    แนวคดิ ก. หาคา่ความยาวเฉลี�ย ( x ) จาก

    x = 5

    22.623.022.622.823.0 = 5

    114.0 = 22.8 cm

    ข. หาคา่ความคลาดเคลื�อนของคา่เฉลี�ย ( x ) จาก

    x = 2

    คา่ตํ�าสดุ คา่สงูสดุ =

    222.6 23.0 = 0.2 cm

    การบนัทกึความยาวที�วดัไดค้วรเขยีนเป็น 22.8 ± 0.2 cm

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    15

    การบวก ลบ คณู หาร จาํนวนที�เขยีนในรูป ความคลาดเคลื�อน ใหใ้ชส้มการต่อไปนี� ตายแป๊ป

    จรงิๆ แลว้งา่ย ดตูวัอยา่งเอา งา่ยแต ้ๆ

    41. วดัความยาวของถนน ก. และถนน ข. อย่างละ 3 คร ั�ง ไดค้า่ดงันี� ถนน ก. 16.9 , 16.9 , 17.5 km ถนน ข. 25.0 , 24.8 , 24.9 km ควรบนัทกึความยาวถนน ก. และถนน ข. ในหน่วย km (ตามลาํดบั) ดงัขอ้ใด 1. 17.1 ± 0.2 , 24.9 ± 0.1 2. 17.1 ± 0.3 , 24.9 ± 0.1 3. 17.1 ± 0.2 , 24.9 ± 0.2 4. 17.1 ± 0.3 , 24.9 ± 0.2 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก 41. ตอบขอ้ 2.

    (a ± a) + (b ± b) = (a + b) ± (a + b)

    (a ± a) – (b ± b) = (a – b) ± (a + b)

    (a ± a) x (b ± b) = (a x b) ± ( aa +

    bb )(100%)

    (a ± a) (b ± b) = (a b) ± ( aa +

    bb )(100%)

    42. (4.7 ± 0.5) + (3.2 ± 0.3) มผีลลพัธเ์ท่ากบัขอ้ใด 1. 1.5 ± 0.2 2. 1.5 ± 0.8 3. 7.9 ± 0.2 4. 7.9 ± 0.8 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    16

    43. (4.7 ± 0.5) – (3.2 ± 0.3) มผีลลพัธเ์ท่ากบัขอ้ใด 1. 1.5 ± 0.2 2. 1.5 ± 0.8 3. 7.9 ± 0.2 4. 7.9 ± 0.8 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    44. (10.0 ± 0.4) x (2.0 ± 0.2) มผีลลพัธเ์ท่ากบัขอ้ใด 1. 20 ± 0.6 2. 20 ± 14 3. 20 ± 0.6% 4. 20 ± 14% 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก 45. (10.0 ± 0.4) (2.0 ± 0.2) มผีลลพัธเ์ท่ากบัขอ้ใด 1. 5.0 ± 0.6 2. 5.0 ± 14 3. 5.0 ± 0.6% 4. 5.0 ± 14% 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    46. วงกลมหนึ�งมรีศัมยีาว 7.0 ± 0.7 เซนตเิมตร ควรบนัทกึพื �นที�วงกลมเป็น 1. 49 ± 20 2. 154 ± 20 3. 49 ± 20% 4. 154 ± 20% 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    17

    ในการทดลองหนึ�งๆ นั�น เมื�อวดัคา่ขอ้มูลออกมาไดแ้ลว้ จะตอ้งนํามาวเิคราะหซ์ ึ�งอาจทาํไดโ้ดยการนํามาเขยีนเป็นกราฟดงัตวัอยา่งตอ่ไปนี�

    1.3.2 การวเิคราะหผ์ลการทดลอง

    ตวัอย่าง จากการศกึษาปรมิาตรนํ�าที�ไหลออกจากท่ออนัหนึ�ง เมื�อจบัเวลา (t) พรอ้ม กบัวดัปรมิาตรนํ�า (V) ที�ไหล 3 คร ั�ง จะไดด้งันี �

    เวลา (t) (s)

    ปรมิาตรนํ�า (V) (cm3) คร ั�งที� 1 คร ั�งที� 2 คร ั�งที� 3

    1 2 3 4 5 6

    2.9 3.3 5.3 6.0 7.2 7.9

    2.5 4.1 4.9 5.6 6.4 8.3

    3.3 3.7 4.5 6.4 6.8 7.5

    จงหาวา่วนิาททีี� 10 ปรมิาตรนํ�าที�ไหลจะมคี่าใกลเ้คยีงกบัขอ้ใดตอ่ไปนี� 1. 9.8 2. 10.5 3. 11.9 4. 13.3 5. 14.2

    แนวคดิ ขั�นที� 1 หาปรมิาตรเฉลี�ย ( V ) และคา่ความคลาดเคลื�อน (V ) แตล่ะวนิาท ีเวลา(t) (s)

    ปรมิาตรนํ�า (V) (cm3)

    V

    V

    V ±V คร ั�งที� 1 คร ั�งที� 2 คร ั�งที� 3

    1

    2

    3

    4

    5

    6

    2.9

    3.3

    5.3

    6.0

    7.2

    7.9

    2.5

    4.1

    4.9

    5.6

    6.4

    8.3

    3.3

    3.7

    4.5

    6.4

    6.8

    7.5

    33.32.52.9 = 2.9

    33.74.13.3 = 3.7

    34.54.95.3 = 4.9

    36.45.66.0 = 6.0

    36.86.47.2 = 6.8

    37.58.37.9 = 7.9

    22.5 3.3 = 0.4

    23.3 4.1 = 0.4

    2 4.5 5.3 = 0.4

    25.6 6.4 = 0.4

    26.4 7.2 = 0.4

    27.5 8.3 = 0.4

    2.9±0.4

    3.7±0.4

    4.9±0.4

    6.0±0.4

    6.8±0.4

    7.9±0.4

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    18

    1 2 3 4 5 6 7 เวลา (t) (s)

    1

    2

    3

    4

    5

    6

    7

    8

    9

    ปรมิาตร (V) (cm3)

    ข ั�นที� 2 เขยีนกราฟระหวา่งเวลา (t) (ชอ่งแรก) กบัปรมิาตร (V) (ชอ่งสดุทา้ย) โดย เวลา (t) เป็นตวัแปรที�กาํหนดไวแ้ลว้แตแ่รก เรยีกเป็นตวัแปรตน้ ตอ้งเป็นแกน X ปรมิาตร (V) เป็นตวัแปรที�จะเกดิตามเวลา เรยีกเป็นตวัตาม ตอ้งเป็นแกน Y สงัเกตวา่ การเขยีนแตล่ะจุด จะเขยีนชว่งความคลาดเคลื�อนลงไปดว้ย

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    19

    1 2 3 4 5 6 7 เวลา (t) (s)

    1

    2

    3

    4

    5

    6

    7

    8

    9

    ปรมิาตร (V) (cm3)

    (6 , 7.8) = (x2 , y2)

    (1.2 , 3.1) = (x1 , y1)

    c = ระยะตดัแกน Y = 1.9

    ข ั�นที� 3 ลากเสน้ใหผ้่านชว่งของแต่ละจุดใหม้ากที�สุด เรยีกเสน้แนวโน้มดทีี�สุด ซ ึ�งขอ้นี�จะไดเ้ป็นเสน้ตรงสนํี�าเงนิดงัรปู ถา้กราฟเป็นเสน้ตรงตอ้งหาความชนั (m) โดยหาจดุตดักราฟชดัๆ 2 จดุดงัรปู แลว้ใชส้ตูร

    m = 1

    x 2

    x1

    y2

    y

    =

    1.2 6.03.1 7.8

    =

    4.84.7 = 1.0

    แลว้หาระยะตดัแกน Y (c) โดยดจูากกราฟ จะเห็นวา่ c = 1.9

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    20

    ข ั�นที� 4 ถา้กราฟเป็นเสน้ตรง หาสมการความสมัพนัธไ์ดจ้ากสตูร

    y = m x + c

    เมื�อ y คอืปรมิาณบนแกน Y ( ตวัแปรตาม ) (ขอ้นี�คอืปรมิาตร , V) x คอืปรมิาณบนแกน X ( ตวัแปรตน้ ) (ขอ้นี�คอืเวลา , t) m คอืความชนัเสน้กราฟ c คอืระยะตดัแกน Y ขอ้นี�จะไดส้มการแสดงความสนัพนัธข์องปรมิาตร (V) กบัเวลา (t) เป็น

    V = 1.0 t + 1.9

    จากนั�นแทนคา่ t = 10 วนิาทลีงไป จะได ้

    V = 1.0 (10) + 1.9 = 11.9 cm3

    นั�นคอืเมื�อผ่านไป 10 วนิาท ี ปรมิาตรนํ�าจะมคีา่ประมาณ 11.9 cm3

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    21

    แถมทา้ยใหอ้กีนิดนา้ เรายงัสามารถหาคา่ความคลาดเคลื�อนของ ความชนั และคา่ความคลาดเคลื�อนของระยะตดัแกน Y ไดด้งันี�อกีดว้ย

    1 2 3 4 5 6 7 เวลา (t) (s)

    1

    2

    3

    4

    5

    6

    7

    8

    9

    ปรมิาตร (V) (cm3)

    เสน้ขนานบน เหนือกว่าทุกชว่ง

    เสน้ขนานล่าง ตํ�ากวา่ทุกชว่ง

    ข ั�นแรก ลากเสน้ขนานเสน้แนวโนม้ดทีี�สดุขึ �นดา้นบนใหเ้หนือชว่งทุกชว่ง และลากเสน้ขนานอกีเสน้ลงขา้งลา่งใหต้ํ�ากว่าชว่งทุกชว่ง

    เมื�อลากเสน้ขนานบนลา่งแลว้ จะไดส้ี�เหลี�ยมดา้นขนานในชว่งขอ้มูลดงัรปู ในขั�นตอ่ไปเราจะตอ้งลากเสน้ทะแยงมุมของสี�เหลี�ยมนี�

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    22

    1 2 3 4 5 6 7 เวลา (t) (s)

    2

    3

    4

    5

    6

    7

    8

    9

    ปรมิาตร (V) (cm3)

    หาความชนัเสน้นี� จะไดค้วามชนัมาก

    หาความชนัเสน้นี�

    (6 , 7.2)

    จะไดค้วามชนันอ้ย

    (1 , 2.3)

    (1 , 3.5)

    (6 , 8.4)

    ระยะตดัสูง=2.8

    ระยะตดัตํ�า=1.1

    ต่อไป ลากเสน้ทแยงมุมสี�เหลี�ยมดา้นขนานจากขั�นแรก จะไดด้งัรูป

    จากรปูจะไดว้า่ mมาก = 1

    x 2

    x1

    y2

    y

    =

    1.0 6.02.3 8.4

    =

    5.06.1 = 1.22

    mนอ้ย = 1

    x 2

    x1

    y2

    y

    =

    1.0 6.03.5 7.2

    =

    5.03.7 = 0.74

    และ ความคลาดเคลื�อนของความชนั = 2

    นอ้ยm มากm

    = 2

    0.74 1.22 = 0.2

    ความคลาดเคลื�อนของระยะตดัแกน Y = 2ระยะตดัตํ�า ระยะตดัสงู

    = 2

    1.1 2.8 = 0.8

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    23

    สุดทา้ย จะไดว้า่ ความชนั (m) = 1.0 ± 0.2 ระยะตดัแกน Y (c) = 1.9 ± 0.8

    และจาก y = m x + c

    ขอ้นี�จะไดส้มการแสดงความสนัพนัธข์องปรมิาตร (V) กบัเวลา (t) เป็น

    V = (1.0±0.2) t + (1.9±0.8)

    47. จากการทดลองใชแ้รง (F) ผลกัวตัถุหนึ�ง พรอ้มกบัวดัความเรง่ (a) ไดข้อ้มูลดงันี�

    F (N)

    a ± a (m/s2)

    1 2 3 4 5 6

    3.4±0.4 4.2±0.4 5.4±0.4 6.5±0.4 7.3±0.4 8.4±0.4

    จงหาวา่ถา้ใชแ้รงผลกั 20 นิวตนั ความเรง่ (m/s2) จะมคีา่ใกลเ้คยีงกบัขอ้ใด 1. 19.8 2. 20.4 3. 22.4 4. 24.6 5. 25.5

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � ธรรมชาติและพฒันาการทางฟิสิกส ์

    24

    48. จากขอ้ที�ผ่านมาสมการแสดงความสมัพนัธร์ะหวา่งแรง (F) กบัความเรง่ (a) ควร ไดป้ระมาณขอ้ใดตอ่ไปนี�

    1. a = (1.0±0.2) F + (2.4±0.4) 2. a = (1.0±0.4) F + (2.4±0.4) 3. a = (1.0±0.2) F + (2.4±0.8) 4. a = (1.0±0.4) F + (2.4±0.8) 5. ไม่มขีอ้ที�ถกู

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    1

    –X(เมตร) –7 –6 –5 –4 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 6 7 X(เมตร)

    การบอกตําแหน่งที�อยู่ของวตัถุ สามารถทําไดด้งัตวัอย่างตอ่ไปนี�

    บทที� 2 การเคลื�อนที�แนวตรง

    2.1 ตาํแหน่ง

    จากรูปเสาไฟฟ้าอยู่ที�จดุ x = 0 เราสามารถบอกตาํแหน่งของกระตา่ยกบัเตา่โดยเปรยีบเทยีบกบัเสาไฟฟ้าไดด้งันี �

    กระตา่ยอยูห่า่งเสาไฟฟ้าไปทางขวา 4 เมตร หรอืกระตา่ยอยู่ที�จดุ x = 4 เมตร เตา่อยูห่่างเสาไฟฟ้าไปทางซา้ย 6 เมตร หรอืเตา่อยูท่ี�จดุ x = –6 เมตร

    ในตวัอย่างนี�เราจะเรยีกเสาไฟฟ้าวา่เป็นจดุอา้งองิ

    1. พจิารณาขอ้ความตอ่ไปนี� “ โลกอยู่ห่างจากดวงอาทติย ์ 150 ลา้นกโิลเมตร ” ประโยคนี�เป็นการบอกตาํแหน่งของอะไร โดยใชอ้ะไรเป็นจุดอา้งองิ (ตามลาํดบั) 1. จกัรวาล , โลก 2. จกัรวาล , ดวงอาทติย ์ 3. โลก , ดวงอาทติย ์ 4. ดวงอาทติย ์, โลก 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    2.2 การกระจดัและระยะทาง

    พจิารณาตวัอย่างต่อไปนี� ตวัอย่าง นาย A เคลื�อนที�จากจุดเร ิ�มตน้ ไปทางตะวนัออก 10 เมตร แลว้ยอ้นกลบัมา ทางตะวนัตก 6 เมตร ทบัแนวเดมิดงัรปู จะไดว้า่

    ระยะทาง (d) = ความยาวที�เคลื�อนที�ไดท้ ั�งหมดบวกกนั โดยไม่สนใจทศิทาง ระยะทาง (d) = 10 + 6 เมตร ระยะทาง (d) = 16 เมตร

    เร ิ�มตน้ 10 ม.

    6 ม. สดุทา้ย

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    2

    การกระจดั (x) = ความยาวที�วดัเป็นเสน้ตรง จากจุดเร ิ�มตน้ถงึจุดสุดทา้ย (ใหล้ากเสน้ตรงจากจดุตั�งตน้ถงึจดุสุดทา้ย แลว้เอาความยาวเสน้ตรงนั�นมาตอบ) การกระจดั (x) = 4 เมตร

    2. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที� ดงัรปู มขีนาดเท่ากบักี�เมตรตามลาํดบั 1. 12 , 4 2. 4 , 12 3. 8 , 12 4. 12 , 8 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    3. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที�ตอ่ไปนี� มขีนาดเท่ากบักี�เมตร ตามลาํดบั

    1. 7 , 14 2. 14 , 7 3. 22 , 14 4. 14 , 22

    5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    4. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที�ตอ่ไปนี�

    มขีนาดเท่ากบักี�เมตร ตามลาํดบั 1. 44 , 7 2. 7 , 44 3. 44 , 0 4. 0 , 44 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    8 ม.

    1 ม. 3 ม.

    เร ิ�มตน้ 10 ม.

    6 ม. สดุทา้ย 4 ม.

    R=7ม.

    R=7ม.

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    3

    โปรดสงัเกตวา่ การหาระยะทางจะคดิแคนํ่าขนาดความยาวมาบวก กนัจะไม่สนใจทศิทาง ระยะทางจงึเป็นปรมิาณสเกลาร ์

    การกระจดัจะมทีศิทางจากจดุเร ิ�มตน้ไปหาจุดสดุทา้ย จงึเป็นปรมิาณเวกเตอร ์ ดงันั�นสญัญลกัษณะแทนจงึควรเขยีนเป็น x แตถ่า้เป็นการเคลื�อนที�แบบเสน้ตรง อนุโลมใหเ้ขยีนเป็น x ได ้

    5. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที�ตอ่ไปนี� มขีนาดเท่ากบักี�เมตรตามลาํดบั 1. 14 , 8 2. 14 , 10 3. 8 , 14 4. 10 , 14 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    6. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที� ตอ่ไปนี� มขีนาดเท่ากบักี�เมตร(ตามลาํดบั) 1. 8 , 5 2. 5 , 8 3. 8 , 2 4. 2 , 8 5. 2 , 5

    –X –1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X(เมตร)

    xi = 4

    xf = 6

    A 8 เมตร B

    6 เมตร

    C

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    4

    อตัราเรว็เฉลี�ย คอือตัราส่วนของระยะทางที�เคลื�อนที�ไดต้อ่เวลา ที�ใชใ้นการเคลื�อนที�ตลอดชว่งนั�น มหีน่วยเป็นเมตรตอ่วนิาท ี

    ความเรว็เฉลี�ย คอือตัราส่วนของการกระจดัที�เคลื�อนที�ไดต้อ่เวลาที�ใชใ้นการเคลื�อนที�ตลอดชว่งนั�น มหีน่วยเป็นเมตรตอ่วนิาท ี

    7. ระยะทางและการกระจดัของการเคลื�อนที�ตอ่ไปนี� มขีนาดเท่ากบักี�เมตร (ตามลาํดบั) 1. 13 , 3 2. 3 , 13 3. 13 , –3 4. -3 , 13 5. –13 , –3 7. ตอบขอ้ 3.

    2.3 อตัราเรว็และความเรว็

    2.3.1 อตัราเรว็เฉลี�ยและความเรว็เฉลี�ย

    เขยีนเป็นสมการจะได ้

    vx ,av = td

    เมื�อ vx ,av คอือตัราเรว็เฉลี�ยในแนวราบ (เมตร/วนิาท)ี d คอืระยะทางที�เคลื�อนที�ได ้ (เมตร)

    t คอืเวลาที�ใชใ้นการเคลื�อนที� (วนิาท)ี

    เนื�องจากระยะทางเป็นปรมิาณสเกลาร ์ อตัราเรว็เฉลี�ยจงึเป็นปรมิาณสเกลารด์ว้ย

    เขยีนเป็นสมการจะได ้

    v x ,av = tx

    เมื�อ v x ,av คอืความเรว็เฉลี�ยในแนวราบ (เมตร/วนิาท)ี x คอืการกระจดั (เมตร)

    t คอืเวลา (วนิาท)ี

    เนื�องจากการกระจดัเป็นปรมิาณเวกเตอร ์ ความเรว็เฉลี�ยจงึเป็นปรมิาณเวกเตอรด์ว้ย

    –X –1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X(เมตร)

    xi = 4

    xf = 1

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    5

    8. นาย A เคลื�อนที�จากจุดเร ิ�มตน้ไปทางตะวนั ออก 10 เมตร แลว้ยอ้นกลบัมาทางตะวนั ตก 6 เมตร ทบัแนวเดมิดงัรปู ถา้ใชเ้วลา ในการเคลื�อนที�ท ั�งหมด 2 วนิาท ี อตัราเรว็ เฉลี�ยและความเรว็เฉลี�ยมคีา่กี�เมตรต่อวนิาท ี(ตามลําดบั)

    1. 8 , 8 2. 8 , 2 3. 2 , 2 4. 2 , 8 5. 8 , 0

    9. จงหาอตัราเรว็เฉลี�ย และความเรว็เฉลี�ยของการเคลื�อนที� ตอ่ไปนี� (หน่วยเมตรตอ่วนิาท)ี ตามลาํดบั ถา้เวลาที�ใช ้ ในการเคลื�อนที�ท ั�งหมดเท่ากบั 2 วนิาท ี

    1. 22 , 14 2. 11 , 7 3. 22 , 0 4. 11 , 0 5. 0 , 0

    10. ที�เวลา 16 วนิาท ี วตัถุอยู่ที�ตาํแหน่ง x เป็น 4 เมตร ตอ่มาที�เวลา 18 วนิาท ี วตัถุเคลื�อนมาอยู่ที�ตาํแหน่ง x เป็น 1 เมตรดงัรูป อตัราเรว็เฉลี�ยและ ความเรว็เฉลี�ยของการเคลื�อนที�นี � ม ี คา่กี�เมตรต่อวนิาทตีามลาํดบั 1. 6.5 , 1.5 2. 1.5 , 6.5 3. 6.5 , –1.5 4. –1.5 , 6.5 5. –6.5 , –1.5

    R=7ม.

    เร ิ�มตน้ 10 ม.

    6 ม. สดุทา้ย

    –X –1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X(เมตร)

    X(16) = 4

    x(18) = 1

    tf = 18 วนิาท ี

    ti = 16 วนิาท ี

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    6

    การหาอตัราเรว็และความเรว็ขณะหนึ�ง (หรอืที�จดุหนึ�ง) ใหค้ดิเฉพาะชว่งแคบๆ ซ ึ�งใชเ้วลานอ้ยๆ ที�จดุนั�นๆ ดงัรปู

    –X –1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X(เมตร)

    11. รถยนตค์นัหนึ�งเคลื�อนที�ได ้ 30 กโิลเมตร ในคร ึ�งช ั�วโมงแรก และเคลื�อนที�ได ้ ระยะทาง 50 กโิลเมตร ในคร ึ�งช ั�วโมงต่อมา อตัราเรว็เฉลี�ยใน 1 ช ั�วโมงมคี่ากี�

    กโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง 1. 10 2. 20 3. 40 4. 60 5. 80

    12. นายตี�เคลื�อนที�เป็นเสน้ตรงดว้ยอตัราเรว็ 5 เมตร/วนิาท ี ไดร้ะยะทาง 100 เมตร แลว้จงึวิ�งตอ่ดว้ยอตัราเรว็ 10 เมตร/วนิาท ี ไดร้ะยะทาง 50 เมตร อตัราเรว็เฉลี�ยมี คา่กี�เมตร/วนิาท ี 1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 5. 10

    2.3.2 อตัราเรว็ขณะหนึ�งและความเรว็ขณะหนึ�ง

    อตัราเรว็ขณะหนึ�ง (vx) = นั�น ในชว่งแคบๆเคลื�อนที�เวลาที�ใช ้

    ขณะนั�น งแคบๆระยะทางชว่

    ความเรว็ขณะหนึ�ง ( v x) = นั�น ในชว่งแคบๆเคลื�อนที�เวลาที�ใช ้ขณะนั�น ชว่งแคบๆ การกระจดั

    t

    d

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    7

    ความเรง่เฉลี�ย คอือตัราส่วนของความเรว็ที�เปลี�ยนไปตอ่เวลาที�ใชใ้นชว่งเปลี�ยนความเรว็นั�น มหีน่วยเป็นเมตร/วนิาท2ี เป็นปรมิาณเวกเตอร ์ ใชส้ญัลกัษณ ์

    ava แตถ่า้เป็นการเคลื�อนที�แบบ

    เสน้ตรงอนุโลมใหเ้ขยีนเป็น aav ได ้

    +ux , +vx , +ax ( มทีศิไปขา้งหนา้ )

    –ux , –vx , –ax ( มทีศิมาขา้งหลงั )

    โดยทั�วไปอตัราเรว็ขณะหนึ�งและความเรว็ขณะหนึ�ง จะเรยีกสั�นๆ เป็นอตัราเรว็ และความเรว็ (ละคาํวา่ขณะหนึ�งไวใ้นฐานที�เขา้ใจ)

    การคํานวณหาอตัราเรว็ขณะหนึ�งและความเรว็ขณะหนึ�ง จะไดท้ําในหวัขอ้ตอ่ไป 13. หนา้ปัดวดัความเรว็รถยนตช์ ี �ที�เลข 90 km/hr เป็นการบอกถงึขอ้ใดตอ่ไปนี� 1. ขณะนั�นรถยนตค์วามเรว็เฉลี�ยเท่ากบั 90 กโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง 2. ขณะนั�นรถยนตม์อีตัราเรว็เฉลี�ยเท่ากบั 90 กโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง 3. ขณะนั�นรถยนตม์คีวามเรว็ขณะใดขณะหนึ�งเท่ากบั 90 กโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง 4. ขณะนั�นรถยนตม์อีตัราเรว็ขณะใดขณะหนึ�งเท่ากบั 90 กโิลเมตรตอ่ช ั�วโมง 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    2.4 ความเรง่

    2.4.1 ความเรง่เฉลี�ย

    เขยีนเป็นสมการจะได ้

    ax ,av = tx

    u x

    v

    เมื�อ ax ,av คอืความเรง่เฉลี�ยในแนวราบ (เมตร/วนิาท2ี)

    ux คอืความเรว็ตอนแรก (เมตร/วนิาท)ี vx คอืความเรว็ตอนหลงั (เมตร/วนิาท)ี

    t คอืเวลาที�ใชใ้นชว่งเปลี�ยนอตัราเรว็ (วนิาท)ี

    เงื�อนไขการคาํนวณ

    คา่ของ ux , vx , ax ถา้มทีศิไปขา้งหนา้ใหใ้ชค้า่เป็นบวก ถา้มทีศิยอ้นมาขา้งหลงัใหใ้ชค้า่เป็นลบ

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    8

    14. รถคนัหนึ�งวิ�งดว้ยความเรว็ 10 เมตร/วนิาท ี ต่อมาเรง่เคร ื�องจนมีความเรว็ 25 เมตร/วนิาที ในเวลา 1.5 วนิาที ในแนวเสน้ตรง จงหาความเรง่เฉลี�ยของรถใน หน่วยเมตร/วนิาท2ี 1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 5. 10

    15. รถคนัหนึ�งมีความเร็วตน้ 30 เมตร/วินาที ไปทางทิศตะวนัออก ผ่านไป 5 วนิาที ความเรว็เปลี�ยนเป็น 10 เมตร/วนิาที ในทิศเดมิ จงหาความเรง่เฉลี�ย ของรถคนันี�ในหน่วยเมตร/วนิาท2ี 1. –4 2. –2 3. 0 4. 2 5. 4

    16. จากขอ้ที�ผ่านมา ถา้ผ่านไป 10 วนิาท ี ความเรว็เปลี�ยนเป็น 10 เมตร/วนิาท ี ยอ้นไปทางทศิตะวนัตก จงหาความเรง่เฉลี�ยของรถคนันี�ในหน่วยเมตร/วนิาท2ี 1. –4 2. –2 3. 0 4. 2 5. 4

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    9

    มอีะไรตอ้งทราบอกีนิดน้า

    การหาความเรง่ขณะหนึ�ง (หรอืที�จดุหนึ�ง) ใหค้ดิเฉพาะ ชว่งแคบๆ ซ ึ�งใชเ้วลานอ้ยๆ ที�จดุนั�นๆ ดงัรูป

    –X –1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 X(เมตร)

    ก. ความเรง่ (ax) ที�มคีา่เป็น + จะมทีศิไปทางขวา (ไปขา้งหนา้) ทําใหค้วามเรว็ที�มทีศิไปทางขวามขีนาดเพิ�มขึ �น และความเรว็ที�มทีศิมาทางซา้ยมขีนาดลดลง

    ข. ความเรง่ (ax) ที�มคีา่เป็น – จะมทีศิยอ้นมาทางซา้ย (ยอ้นมาดา้นหลงั) ทําใหค้วามเรว็ที�มทีศิไปทางขวามขีนาดลดลง และความเรว็ที�มทีศิมาทางซา้ยมขีนาดเพิ�มขึ �น

    ค. เมื�อความเรง่ (ax) ที�มคีา่เป็น 0 ความเรว็ของการเคลื�อนที�จะมขีนาดและทศิทางคงเดมิ 17. วตัถุหนึ�งผูกติดปลายสปรงิโดยปลายอีกขา้งของสปรงิตรงึติดกําแพงไวด้งัรูป วตัถุเร ิ�มตน้เคลื�อนที�ไปขา้งหนา้ดว้ยความเรว็ขนาดหนึ�ง พรอ้มกบัมคีวามเรง่มคี่า เป็นลบคงที� ความเรว็ของวตัถุจะเป็นอย่างไร 1. มขีนาดเพิ�มขึ �นตลอด 2. มขีนาดลดลงตลอด 3. มขีนาดลดลงจนเป็นศูนย ์ แลว้เพิ�มขึ �นเมื�อยอ้นกลบั 4. มขีนาดเพิ�มขึ �นจนสปรงิยดืสดุ แลว้ยอ้นกลบั 5. คงที�ตลอดการเคลื�อนที� 2.4.2 ความเรง่ขณะใดขณะหนึ�ง

    ความเรง่ขณะหนึ�ง (ax) = นั�น ในชว่งแคบๆ

    tในชว่งแคบๆ

    )x

    u x

    (v

    โดยทั�วไปความเรง่ขณะหนึ�งจะเรยีกสั�นๆ เป็นความเรง่ (ละคาํวา่ขณะหนึ�งไป)

    ux

    ax

    vx

    t

    ux vx

    ux

    ax

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    10

    18. เมื�อลากแผ่นกระดาษผ่านเคร ื�องเคาะสญัญาณเวลาชนิดเคาะ 50 คร ั�งต่อวนิาท ี ปรากฏจดุบนแถบกระดาษดงัรปู จงหาความเรว็ที�จดุ B ในหน่วยเมตรตอ่วนิาท ี

    1. 2.0 2. 2.5 3. 5.0 4. 7.5 5. 10.0

    19. จากขอ้ที�ผ่านมา จงหาความเรว็ที�จดุ D ในหน่วยเมตรตอ่วนิาท ี 1. 2.0 2. 2.5 3. 5.0 4. 7.5 5. 10.0

    20. จากขอ้ที�ผ่านมา จงหาความเรง่ที�จดุ C ในหน่วยเมตรตอ่วนิาท2ี 1. 25.0 2. 42.5 3. 50.0 4. 625 5. 70.0

    . . . . . . . .

    20 cm

    A B C D E

    10 cm

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    11

    2.5 กราฟของการเคลื�อนที�แนวตรง

    2.5.1 กราฟความเรง่ ความเรว็และการกระจดั ที�สมัพนัธก์นั ชดุที� 1 ถา้เราขบัรถแบบกนิลมชมววิไปเร ื�อยๆ ไม่เรง่เพิ�มและไม่เบรก จะพบว่า

    ก. ความเรง่ (a) จะมคีา่เป็น 0 ข. ความเรว็ (v) จะคงที� ค. การกระจดั(x) จะเพิ�มขึ �น คงที�ตลอดเวลา เขยีนเป็นกราฟไดเ้สน้ตรง

    ชดุที� 2 ถา้เราขบัรถแลว้เรง่เคร ื�องคา้งไว ้ จะพบว่า

    ก. ความเรง่(a) จะมคีา่เป็น + ข. ความเรว็(v) จะเพิ�มขึ �น ค. การกระจดั(x) จะ เพิ�มขึ �นอย่างมากมาย

    ชดุที� 3 ถา้เราขบัรถแลว้เบรก ( ทําใหเ้กดิความหน่วง ) จะพบวา่

    ก. ความเรง่(a) จะมคีา่เป็น – ข. ความเรว็(v) จะลดลง ค. การกระจดั(x) จะ เพิ�มนิดๆ พราะรถวิ�งชา้ลง

    กราฟน่าสนใจ พจิารณากราฟการกระจดั เทยีบกบัเวลาดงัรปูดา้นขวา จะพบวา่การกระจดั มคีา่คงที�คอื 5 เมตร แสดงวา่วตัถุอยู่นิ�งๆ ที�ระยะ ห่างจากจดุเร ิ�มตน้ 5 เมตร ดงันั�น ความเรว็ = 0 และ ความเรง่ = 0

    x (m)

    0 1 2 3 t (s)

    5

    0 1 2 3 t

    a v x

    0 1 2 3 t 0 1 2 3 t

    0 1 2 3 t

    a v

    0 1 2 3 t 0 1 2 3 t

    +?

    x

    0 1 2 3 t

    a v

    0 1 2 3 t 0 1 2 3 t

    –?

    x

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    12

    21. กราฟที�แสดงการเคลื�อนที�ของวตัถุที�มอีตัราเรง่เป็นศูนยต์ลอดเวลาคอื 1. 2. 3. 4. 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก 22. กราฟที�แสดงการเคลื�อนที�ของวตัถุที�มอีตัราเรง่เป็นบวกตลอดเวลาคอื 1. 2. 3. 4. 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก 23. กราฟที�แสดงการเคลื�อนที�ของวตัถุที�มอีตัราเรง่เป็นลบตลอดเวลาคอื 1. 2. 3. 4. 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    vx

    t t t t

    vx vx vx

    vx

    t t t t

    vx vx vx

    vx

    t t t t

    vx vx vx

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    13

    การกระจดั

    เวลา 0

    การกระจดั

    เวลา 0

    24. วตัถุกอ้นหนึ�งเคลื�อนที�ในแนวเสน้ตรงโดยมกีราฟ ความเรว็กบัเวลาดงัรปู กราฟในขอ้ใดต่อไปนี�แทน ความสมัพนัธร์ะหว่างความเรง่กบัเวลาของการเคลื�อน ที�นี �ไดถู้ก 1. 2. 3. 4. 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก 25. พิจารณาการเคลื�อนที�ของจกัรยานคนัหนึ�งในแนวเสน้ตรง กราฟระหว่างการ กระจดักบัเวลา ในขอ้ใดตอ่ไปนี�ที�แสดงวา่จกัรยานมคีวามเรว็คงที�

    1. 2.

    3. 4.

    5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    การกระจดั

    เวลา 0

    การกระจดั

    เวลา 0

    ความเรว็

    เวลา 0 ความเรง่

    เวลา 0

    ความเรง่

    เวลา 0

    ความเรง่

    เวลา 0

    ความเรง่

    เวลา 0

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    14

    จาํไวเ้ลยนา้ๆๆ จากกราฟนี� x = พื �นที�ใตก้ราฟ ax = ความชนัเสน้กราฟ

    จากกราฟนี� vx = ความชนัเสน้กราฟ

    จากกราฟนี� vx – ux = พื �นที�ใตก้ราฟ

    26. ตามรปูเป็นกราฟระหวา่งการกระจดักบัเวลา ชว่งเวลาขอ้ใดที�ความเรว็เป็นศูนย ์ 1. 0 ® t1 , t2 ® t4

    2. 0 ® t2 , t3 ® t4

    3. 0 ® t1 , t3 ® t4

    4. 0 ® t1 , t2 ® t3 5. ไม่มขีอ้ที�ถูก

    2.5.2 พื �นที�ใตก้ราฟ และความชนัเสน้กราฟของกราฟ ax , vx และ x

    กราฟ 3 รปูตอ่ไปนี�จาํใหแ้ม่นนา้ ใชเ้ก็บคะแนนไดง้า่ยครอ๊ดๆๆ จา้ กราฟความเรว็ (vx) และเวลา (t)

    กราฟการกระจดั (x) และเวลา (t)

    กราฟความเรง่ (ax) และเวลา (t)

    vx

    t

    x

    t

    ax

    t

    การขจดั

    เวลา 0 t1 t2 t3 t4

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    15

    27. จากกราฟการเคลื�อนที�ดงัรูป การกระจดั ของการเคลื�อนที�มคีา่เท่ากบัขอ้ใดต่อไปนี� 1. 5 เมตร 2. 10 เมตร 3. 15 เมตร 4. 20 เมตร 5. 25 เมตร 28. รถยนตค์นัหนึ�งเคลื�อนที�ในแนวเสน้ตรงไดก้ราฟ ระหวา่ง ความเรว็ – เวลา ดงัรปู ถามวา่เมื�อสิ �น วนิาททีี� 6 การกระจดัจะเป็นกี�เมตร 1. 25 2. 45 3. 90 4. 120 5. 135 29. วตัถุหนึ�งเคลื�อนที�โดยมคีวามเรว็เปลี�ยนแปลงกบัเวลาเป็น sine curve (ดงัรปู) ถามวา่เมื�อสิ �นวนิาททีี� 3 การกระจดัจะเป็นกี�เมตร 1. 1 เมตร 2. 2 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร 5. 5 เมตร 30. จากขอ้ที�ผ่านมา คา่ความเรว็เฉลี�ยในชว่งเวลา 0 ถงึ 3 วนิาท ี เป็นกี�เมตร/วนิาท ี 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

    ความเรว็ (m/s)

    เวลา (s) 4 5

    2

    ความเรว็ (m/s)

    เวลา (s) 1 2 3 4 5 6

    10 20 30

    เวลา (s)

    1

    1 2 3

    ความเรว็ (m/s)

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    16

    31. วตัถหุนึ�งเคลื�อนที�ไดก้ารกระจดั 150 เมตร มคีวามเรว็สงูสดุ 10 เมตร/วนิาท ี และความเรว็ v กบัเวลา t สมัพนัธด์งักราฟ จงหาเวลาที�ใชใ้นการเคลื�อนที� 1. 10 วนิาท ี 2. 15 วนิาท ี 3. 20 วนิาท ี 4. 25 วนิาท ี 5. 30 วนิาท ี 32. จากกราฟการเคลื�อนที�ดงัรูป จงหา ความเรง่ ณ. วนิาททีี� 9 1. –1 m/s2 2. –2 m/s2 3. 0 m/s2 4. 1 m/s2 5. 2 m/s2 33. รถคนัหนึ�งวิ�งออกจากจดุสตารท์ไปตามลูแ่ขง่ ดว้ยความเรว็ดงัแสดงในกราฟ จงหาความเรง่ ของรถขณะวิ�งออกมาได ้ 4 วนิาท ี ในหน่วย เมตรตอ่วนิาท2ี

    1. 3 2. 6 3. 9 4. 12 5. 15

    v (m/s)

    t (s) 0

    10

    t

    เวลา (s)

    ความเรว็ (m/s)

    8 10

    4

    v (m/s)

    t (s)

    45

    30

    5 10 14

  • http://www.pec9.com ติวสบายฟิสิกส ์ บทที� � การเคลื�อนที�ในแนวตรง

    17

    34. รถยนตค์นัหนึ�งเคลื�อนที�ในแนวเสน้ตรงไดก้ราฟ ระหวา่งการกระจดั – เวลา ดงัรปู ถามวา่ความเรว็ ณ วนิาททีี� 5 มขีนาดเป็นกี�เมตร/วนิาท ี 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 5. 8 35. วตัถุอนัหนึ�งเคลื�อนที�จากนิ�งดว้ยความเรง่ a ที�เวลา t ดงัไดแ้สดงในรูป จงหาความเรว็ของ วตัถุที�เวลา 5 วนิาท ี 1. 2 m/s 2. 1 m/s 3. 0 m/s 4. –1 m/s 5. –2 m/s 36. จากกราฟของการเคลื�อนที�ตอ่ไปนี� �